ที่มาอย่างง่ายของความคิดสร้างสรรค์ กับที่ไปอย่างทรงพลังของจินตนาการ

ในเรื่องความคิดสร้างสรรค์นั้น ดูจะเป็นนามธรรม (Abstract) ที่คิดให้ง่ายก็ง่าย ถ้าคิดให้ลึกก็ดูเหมือนจะซับซ้อน โดยส่วนตัวชอบวิธีการที่ง่ายแต่ให้รายละเอียดหรือก่อร่างสร้างผลงานที่ซับซ้อนได้ ก็เลยใช้ความชอบส่วนตัวตกผลึกเรื่องของความคิดสร้างสรรค์ออกมาได้ง่ายๆ ว่า … ความคิดสร้างสรรค์หรือการคิดอย่างสร้างสรรค์ […]

รู้ทุกเรื่อง ทำได้บางเรื่อง

คนเราสามารถรู้และเก่งได้ทุกเรื่อง ใช่ครับ คุณอ่านไม่ผิดหรอกแม้ว่าจะดูขัดกับสามัญสำนึกไปเสียหน่อย ผมขอย้ำว่ามนุษย์เรามีความสามารถที่จะเรียนรู้ได้ทุกอย่างทั้งที่ถนัดหรือมีพรสววรค์ และที่ไม่ถนัดหรือมีแต่เพียงพรแสวง จบวิศวะก็ไปเป็นนักธุรกิจได้ ทำเกษตรกรรมมายี่สิบปีหันไปทำกราฟฟิกดีไซน์ ถึงไม่ได้เรียนมาแต่ทำผลงานได้ดีแล้วจะไปหนักหัวใครครับ เป็นคนขับแท๊กซี่หันไปเป็นหมอผ่าตัด (พูดแบบนี้คำครหามาตรึม […]

อยู่อย่างแชมป์ ตอนที่ 1 – ภาพรวม

การมีชีวิตนั้น จะว่ายากหรือง่ายก็ขึ้นอยุ๋กับทัศนคติของเจ้าของชีวิตผู้นั้น แต่การมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณภาพ ถือว่าไม่ง่ายเลย แม้ว่าคุณภาพที่ว่านี้จะขึ้นอยู่กับมาตรฐานของแต่ละบุคคล ผู้เขียนได้ตีความคำว่า “คุณภาพ” ให้กับการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับการดำรงชีพในสังคมที่ไม่อาจจะอยู่เพียงลำพังได้ ยังไงเราก็หนีไม่พ้นสภาวะการแข่งขัน แม้จะไม่แข่งก็ไม่ได้หมายความว่าจะไม่ถูกเปรียบเทียบจากผู้อื่นหรือกฏกติการสังคมที่อาจจะไม่มีพื้นที่ยืนให้กับทุกคนในระดับเดียวกัน ในทุกๆเรื่องได้ […]

ทฤษฎีแกน X (X-Axis Theory) ตอนที่ 2

แกน X คือ สาขาวิชา กลุ่มอุตสาหกรรม หรืออะไรก็ตามที่แสดงถึงความหลายหลายของประเภทความรู้ต่างๆ แกน Y คือ ระดับความเชี่ยวชาญ […]

ทฤษฎีแกน X (X-Axis Theory) ตอนที่ 1

“ผมชอบวิ่งแกน X” ประโยคสั้นๆ ที่ชอบใช้ตอบในการสนทนากับผู้คน เพื่อน ญาติพี่น้อง เวลาพูดคุยกันถึงเรื่องอนาคตของคนเรา ไม่ว่าจะเป็นแนวทางการดำเนินชีวิต เป้าหมายชีวิต การทำงาน […]

ความรู้กับโอกาส

ผมเคยมีคำถามว่า core competency ขององค์กร (หรือมองเเป็น strength) ซึ่งเป็นการมองภายใน กับ opportunity ที่เป็นการมองภายนอก […]

ระบบนวัตกรรม (Innovation System) – ตอนที่ 5

ตัวอย่างระบบนวัตกรรมของประเทศนอร์เวย์ ที่ได้ออกแบบแผนภาพตามโครงสร้างของบทบาทหน้าซึ่งมีความเชื่อมโยงกันในระหว่างองค์กร โดยได้แบ่งลำดับขั้นตามบทบาทหน้าที่ขององค์กร ตั้งแต่การกำหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย และการประเมินผลการดำเนินงาน (ระดับบน) จนกระทั่งถึงองค์กรที่มีบทบาทในการขยายผลเทคโนโลยีเป็นวงกว้างเพื่อการประยุกต์ใช้ในเชิงพาณิชย์ (ระดับล่าง) โดยมีรายละเอียดแต่ละระดับชั้นดังต่อไปนี้

ระบบนวัตกรรม (Innovation System) – ตอนที่ 4

ขั้นตอนที่ 4.การประเมินการทำงานของระบบนวัตกรรมและการตั้งค่าเป้าหมายของกระบวนการ โดยพื้นฐานของการประเมินจากพิจารณาจากรายละเอียดที่อยู่ในขั้นตอนของการพัฒนา การดำเนินการ และการเปรียบเทียบกับระบบจากแหล่งอื่นที่มีรูปแบบหรือมาตรฐานในระดับเดียวกัน อาทิเช่น ระบบนวัตกรรมของอุตสาหกรรมเดียวกันจากประเทศที่มีความเจริญทางเศรษฐกิจที่ใกล้เคียงกัน เป็นต้น ทั้งนี้ ทั้งสองวิธีสามารถสะท้อนปัญหาหรือจุดอ่อนได้จากมุมมองที่แตกต่างกัน […]

ระบบนวัตกรรม (Innovation System) – ตอนที่ 3

ระบบนวัตกรรมในระดับอุตสาหกรรม แสดงให้เห็นถึงการเชื่อมโยงของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการสนับสนุนและพัฒนาระบบนวัตกรรมในระดับอุตสาหกรรมซึ่งส่งผลกระทบต่อการจัดการเทคโนโลยีและนโยบาย กรอบการดำเนินงานนี้มุ่งเน้นไปที่ลักษณะ โครงสร้าง องค์กรที่เกี่ยวข้อง และพลวัตรของนวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ในภาคอุตสาหกรรมบนพื้นฐานของทฤษฎิวิวัฒนาการและวิธีการของระบบนวัตกรรม องค์ประกอบที่สำคัญของกรอบการดำเนินงานนี้ประกอบไปด้วย บริษัทภายในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง (Firms) องค์กรรูปแบบอื่นที่เกี่ยวข้อง […]

ระบบนวัตกรรม (Innovation System) – ตอนที่ 1

การเพิ่มประสิทธิภาพเพื่อการแข่งขันทั้งในระดับองค์กร อุตสาหกรรม รวมไปถึงระหว่างประเทศ มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ความสามารถขององค์กรเป็นผลจากการพัฒนาในหลากหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารจัดการทรัพยากรทางเทคโนโลยี ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนองค์กรให้ไปสู่ความได้เปรียบทางการแข่งขัน และยังช่วยสะท้อนถึงจุดแข็ง จุดอ่อน เช่นเดียวกับความสามารถขององค์กรในการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ตัวอย่างขอบเขตของความสามารถดังกล่าว […]