การศึกษาทําความเขาใจในเรื่องของแนวคิดเชิงระบบ และการวิเคราะห์ปัญหา มองสิ่งต่างๆรอบตัวอย่างเป็นระบบ ทําให้เราเข้าใจในรายละเอียดและความเกี่ยวพันของปัญหากับสิ่งรอบข้างได้อย่างถ่องแท้ สามารถคาดการณ์ถึงผลกระทบ และหลีกเลี่ยงผลกระทบหรือลดปัญหาที่ไม่ต้องการได้ โดยระบบทุกระบบจะประกอบไปด้วย ประเภทของระบบ สามารถแบ่งประเภทของระบบได้ตามเงื่อนไขหรือเกณฑ์ในการพิจารณา ดังนี้ […]
โมเดลออกแบบชีวิต 1: สมการชีวิตแบบบูรณาการ (Integrated Life Equation)
แน่นอนว่าคนทุกคนเกิดมาแล้ว ย่อมมีแรงปรารถนาที่แตกต่างกัน แต่คนทุกคนก็ต้องการความสุขกับความสำเร็จเหมือนกัน ถึงแม้ว่ามันจะมีความเป็นเฉพาะตัวก็ตามที … ผมชื่นชอบสมการที่อธิบายความสุขและความสำเร็จอย่างง่ายที่สามารถใช้ได้กับทุกคนของ Chip Conley แบบนี้ ความสุข […]
โมเดลออกแบบชีวิต 6: แพลทฟอร์มชีวิตแบบบูรณาการ (Integrated Life Platform)
ในที่สุดผมก็ทำมันจนเสร็จ ใช่แล้ว มันคือต้มยำที่รวมเอาเครื่องมือทางกลยุทธ์ที่ใช้กับองค์กรมาปรับใช้กับชีวิต ผมคิดว่ามันควรเป็นแพลทฟอร์มช่วยให้เห็นภาพเพื่อการวิเคราะห์ออกแบบและวางแผนให้กับเพื่อนร่วมโลกของผมได้บ้าง จึงได้เรียกมันว่า Life Platform แต่ช้าก่อน เนื่องด้วยการที่ได้รวมเอาทุกมุมมองเท่าที่ปัญญาผมจะสังเคราะห์ออกมาได้ ณ […]
โมเดลออกแบบชีวิต 5: สถานการณ์ชีวิตแบบบูรณาการ (Integrated Life Scenario)
หลักคิดสำคัญของศาสนาสอนในเราอยู่กับปัจจุบัน เพื่อปฏิบัติให้ดีและมีความสุขกันเสียแต่ตอนนี้ ไม่ว่าจะอยู่ในสถานภาพ และสถานการณ์ใดก็ตาม จึงต้องพินิจกันที่ภายใน (ใจ) แต่มนุษย์คือสัตว์ที่พื้นฐานแล้วท้าทายกับสิ่งภายนอกเพราะกิเลส จึงมักไม่พอใจกับสถานภาพ และ/หรือสถานการณ์ที่เป็นอยู่ จึงต้องไตร่สวนทวงถามอดีต […]
โมเดลออกแบบชีวิต 4: แผนที่นำทางชีวิตแบบบูรณาการ (Integrated Life Roadmap)
จากสถาปัตยกรมชีวิต ผมเริ่มคิดต่อไปว่า ทำไมจึงมีได้เพียงแค่นั้น เราจะสร้างรายละเอียดที่ให้ข้อมูลได้ทั้งมุมกว้างและลึกขึนอีกเพื่อเพิ่มบทบาทจากแค่เป็นการมองภาพรวมเป็นการเห็นภาพเชิงสัมพันธ์ได้หรือไม่ จึงคิดถึงแนวทางที่จะอธิบายหรือสร้างความสัมพันธ์มากกว่ามิติที่เป็นอยู่ นอกจากนี้แล้ว คำถามอื่นก็เริ่มพรั่งพรูขึ้นอีกเช่นเคย หนึ่งในคำถามที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ขององค์ประกอบก็ได้รับการตอบคำถาม เมื่อได้มีโอกาสทำโครงงานวิจัยระบบนวัตกรรมแห่งชาติ ที่ได้วิเคราะห์ออกแบบความเชื่อมโยงของบทบาทระหว่างหน่วยงานในอุตสาหกรรม […]
โมเดลออกแบบชีวิต 3: พอร์ตโฟลิโอชีวิตแบบบูรณาการ (Integrated Life Portfolio)
หากกล่าวถึงเรื่องในมุมธุรกิจอย่างสินค้าหรือบริการ หรือในมุมของการลงทุน ทุกคนคงจะได้ยินเรื่องการบริหารจัดการพอร์ตโฟลิโอมาบ้างไม่มากก็น้อย หลักคิดของพอร์ตโฟลิโอนั้นเรียบง่ายแต่สำคัญอย่างยิ่งยวด นั่นคือ การพิจารณาถึงสิ่งต่างๆที่เรามีอยู่อย่างเป็นองค์รวม เพราะเราจะต้องแบ่งทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดไปสนับสนุนสิ่งที่มีอยู่นั้น คิดง่ายๆ ก็แรงกายกับเวลาของเรานี่แหละ สิ่งไหนสำคัญกว่าก็ทุ่มให้มากหน่อย […]
โมเดลออกแบบชีวิต 2: สถาปัตยกรรมชีวิตแบบบูรณาการ (Integrated Life Architecture)
โดยพื้นฐานแล้ว ผมเป็นคนชอบคิดมากกว่าปฏิบัติ ครั้นยามมีช่องเวลาว่างให้คิดหน่อย ก็มักจะคิดเชื่อมโยงเป็นเรื่องเป็นราวอยู่ป็นระยะ เมื่อตอนที่ทำงานเป็นนักวิเคราะห์ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการและกลยุทธ์องค์กร ก็พบว่า แท้จริงแล้วองค์ประกอบขององค์กรกับชีวิตคนเรา ไม่ได้แตกต่างกันมากนัก แค่มีขนาด […]
กฏที่เรียบง่ายบนสถานการณ์ที่ซับซ้อน
สิ่งต่างๆ อะไรก็ตามที่อยู่อย่างโดดเดี่ยวไม่ว่าจะมีความเรียบง่ายหรือซับซ้อนในตัวมันเอง หากได้มารวมกันอยู่เป็นกลุ่มเป็นฝูง ย่อมมีโอกาสเกิดความสลับซับซ้อนขึ้น อย่างน้อยที่สุดก็ซับซ้อนมากกว่าการอยู่อย่างโดดเดี่ยวเป็นแน่ เมื่อต้องเผชิญกับความสลับซับซ้อนที่เกิดจากการรวมองค์ประกอบเข้าด้วยกัน เราควรพิจารณาถึงศาสตร์แห่งความสลับซับซ้อน และเคล็ดลับ 10 ประการ […]
แพลทฟอร์มดำเนินชีวิตแบบบูรณาการ (Integrated Life Platform)
มีคนจำนวนไม่น้อยที่เสาะแสวงหาแนวทางหรือวิธีการไปสู่ความสุขและความสำเร็จในชีวิต บ้างก็ขนขวายเรียนรู้ด้วยตนเอง บ้างก็เรียนรู้จากผู้อื่น แต่ไม่ว่าจะแบบไหนก็มักจะมีความคลุมเครือ จับต้องได้ยาก บางทีก็จับต้องไม่ได้เอาเสียเลย ความไม่เป็นรูปธรรมเหล่านี้ เป็นสิ่งที่ยากต่อการนำไปปฏิบัติ จริงไหมครับ ผมขอขยายความเพิ่มติมสักนิดว่าการเรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้จากผู้อื่น […]
The Little Book of Big Management Theories
The Little Book of Big Management Theories was praised by […]
การประเมินผลด้วย PRECEDE-PROCEED Model
แบบจำลอง PRECEDE-PROCEED model โดย Lawrence W. Green และ Marshall Krueter เป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในการวางแผนและประเมินผลโครงการส่งเสริมสุขภาพและสุขศึกษา โดยอาศัยการวินิจฉัยปัญหาและสาเหตุของปัญหาของกลุ่มเป้าหมาย แบบจำลองนี้มีลักษณะเป็นพหุปัจจัยร่วมกันซึ่งมีรากฐานมาจากสังคมศาสตร์/พฤติกรรมศาสตร์ […]